
![]() |
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 และระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา กำหนดให้ต้องมีการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งกำหนดไว้ดังนี้
ข้อ 28 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย
โดยให้คณะกรรมการเลือกกรรมการหนึ่งคนทำหน้าที่ประธานคณะกรรมการและกรรมการ
อีกหนึ่งคนทำหน้าที่เลขานุการของคณะกรรมการ
กรรมการตามข้อ 28 ให้มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสองปี และอาจได้รับการคัดเลือกอีกได้ ซึ่งตามระเบียบข้อ 28 นี้ ทางองค์การบริหารส่วนตำบลบัวขาวได้แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลบัวขาวประกอบด้วย
1. นายทองบ่อ อุทรักษ์ ปลัด อบต.บัวขาว ประธานกรรมการ
2. นายอเนก ว่องไว ผู้แทนเกษตรอำเภอกุฉินารายณ์ กรรมการ
3. นางรตี ปาปะโข ผู้แทนพัฒนาชุมชนอำเภอกุฉินารายณ์ กรรมการ
4.นายมนตรี ไชยยนต์ ส.อบต.ม.1 กรรมการ
5.นายนภดล แสนวงษา ส.อบต.ม.7 กรรมการ
6.นางภาสินี เพริดพราว ส.อบต.ม.4 กรรมการ
7. นางศรีอำภรณ์ ดอกคำ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
8. นายสงคราม พิชัยช่วง ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
9. นายสุเพียร ภูมิสาขา ประชาคมหมู่บ้าน กรรมการ
10.นายเทพนิมิต อุปนิ ประชาคมหมู่บ้าน กรรมการ
11. นายรณฤทธิ์ ชื่มชม รอง ปลัด อบต.บัวขาว กรรมการ
12. นางสมัญญา แสงไกร ผอ.กองคลัง กรรมการ
13. นายบุญตา นามมนตรี หัวหน้าสำนักปลัด กรรมการ
14. นายวิชวรรต สายบุ่งคล้า ผอ.กองช่าง กรรมการ
15.นางวราพร สิทธิรมย์ ผอ.กองการศึกษาฯ กรรมการ
16.นางสาวทิพอุษา บุ่งนาม รก.ผอ.สาธารณสุขฯ กรรมการ
17. นางอุมารุจี ลุนจักร นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรรมการ/เลขานุการ
18. นางสาวมณีวรรณ แสงฤทธิ์ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์ฯ กรรมการ/ผู้ช่วยเลขานุการ
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2548 ข้อ 29 และตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ข้อ 13, 14 คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้
ผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอต่อสภาท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น พร้อมทั้งประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบในที่เปิดเผยภายในสิบห้าวันนับแต่วันรายงานผลและเสนอความเห็นดังกล่าวและต้องปิดประกาศไว้เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าสิบวัน โดยอย่างน้อยปีละสองครั้งภายในเดือนเมษายนและภายในเดือนตุลาคมของทุกปี
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2548 ข้อ 30 และตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2559 ข้อ 14 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจมอบให้หน่วยงานหรือบุคคลภายนอกดำเนินการหรือร่วมดำเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาได้ โดยมีขั้นตอนดำเนินการ ดังนี้
และรายละเอียดของงานที่จะมอบหมายให้หน่วยงานหรือบุคคลภายนอกดำเนินการ เพื่อเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
ประเมินผลรายงานผลการดำเนินการ ซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผล ต่อคณะกรรมการติดตามและประเมินผล เพื่อประเมินผลการรายงานผล เสนอความเห็นต่อผู้บริหารท้องถิ่น
พัฒนาท้องถิ่น พร้อมทั้งประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบในที่เปิดเผยภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอผลการติดตามปละประเมินผลดังกล่าวและต้องปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน โดยอย่างน้อยปีละสองครั้งภายในเดือนเมษายนและภายในเดือนตุลาคมของทุกปี
ข้อ 31 เพื่อประโยชน์ของประชาชนโดยส่วนรวมและเพื่อให้การบริหารงานขององค์กรปก
ครองส่วนท้องถิ่น สอดคล้องกับแนวนโยบายของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย อาจจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ตามความเหมาะสม
การติดตามและประเมินผลการพัฒนาท้องถิ่นนั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะชี้ให้เห็นถึงผลการดำเนินงานแผนที่ได้วางไว้ ว่าสามารถบรรลุเป้าหมายหรือภารกิจที่ได้ตั้งไว้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด และติดขัดหรือมีอุปสรรคด้านใดบ้าง ที่ทำให้การดำเนินงานไม่ประสบผลสำเร็จ สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ตรงตามความต้องการหรือไม่ อย่างไร
ในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนานี้ จะยึดตามแผนการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2561 เป็นหลักเนื่องจากได้กำหนดระยะเวลา เป้าหมาย และงบประมาณที่ชัดเจน สามารถติดตามและประเมินผลที่เข้าใจได้ง่าย
¶¶¶¶¶¶¶¶¶¶¶
![]() |
- การเสริมสร้างรากฐานของเศรษฐกิจและสังคมไปสู่เมืองน่าอยู่
1.1 โครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง
1.1.1 การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
1.1.2 การพัฒนาด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมอย่างยังยื่น
1.1.3 การสร้างด้านชุมชนปลอดยาเสพติด ปลอดอาชญากรรม และคอร์รัปชั่น
1.1.4 การพัฒนาด้านสวัสดิการสังคม
1.1.5 การพัฒนาด้านการยกระดับและพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา
- การพัฒนาปรับปรุงแหล่งน้ำให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
2.1
-การเพิ่มขีดความสามารถในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเสริมสร้างลักษณะในการผลิตและการตลาด
3.1โครงการพัฒนาการผลิต แปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตรและส่งเสริมกิจการด้านการตลาด
3.1.1 ส่งเสริมกลุ่มอาชีพเกษตรกร
3.1.2 ส่งเสริมการรักษาแหล่งเงินทุนและตลาดให้แก่เกษตรกร
4. แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านวิสาหกิจ
- ส่งเสริมสนับสนุนต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นเพิ่มประสิทธิภาพในด้านการผลิต
4.1การพัฒนาส่งเสริมและเพิ่มทักษะในการผลิตและแปรรูปสินค้าหัตถกรรม
5. แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ด้านเลิศล้ำวัฒนธรรมประเพณี
- ส่งเสริมสนับสนุน วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นอย่างยังยืน
5.1 การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
6. แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการ
- การเสริมสร้างการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพัฒนาแบบบูรณาการ
6.1 โครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการแบบบูรณาการ
6.1.1 การพัฒนาการให้บริการประชาชนด้านข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสารสนเทศ
6.1.2 การพัฒนาองค์การและบุคลากรในท้องถิ่น บริหารกิจการข่ายเมืองที่ดี ให้เป็นไปตามการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และหลักธรรมภิบาล
“บัวขาวเมืองน่าอยู่ ควบคู่แหล่งน้ำ
นำเกษตร วิสาหกิจ เพริดพิศวัฒนธรรม”
1. การเสริมสร้างรากฐานของเศรษฐกิจและสังคมไปสู่เมืองน่าอยู่
2.การพัฒนาปรับปรุงแหล่งน้ำให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
3.การเพิ่มขีดความสามารถในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเสริมสร้างลักษณะในการผลิตและการตลาด
4.ส่งเสริมสนับสนุนต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นเพิ่มประสิทธิภาพในด้านการผลิต
5.ส่งเสริมสนับสนุน วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นอย่างยังยืน
6.การเสริมสร้างการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพัฒนาแบบบูรณาการ
¶¶¶¶¶¶¶¶¶¶¶
![]() |
แบบที่ 1 เป็นแบบประเมินตนเองในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยจะ
ทำการประเมินและรายงานทุก ๆ ครั้ง หลังจากที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์แล้ว
ชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : องค์การบริหารส่วนตำบลบัวขาว อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ประเด็นการประเมิน |
มี การดำเนินงาน |
ไม่มี การดำเนินงาน |
ส่วนที่ 1 คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น |
|
|
1. มีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น |
P |
|
2. มีการจัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น |
P |
|
3. มีการจัดประชุมอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ |
P |
|
4. มีการจัดตั้งคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น |
P |
|
5. มีการจัดประชุมคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น |
P |
|
6. มีคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและประชาคมท้องถิ่นพิจารณา ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา |
P |
|
ส่วนที่ 2 การจัดทำแผนการพัฒนาท้องถิ่น |
|
|
7. มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสำคัญของท้องถิ่นมาจัดทำฐานข้อมูล |
P |
|
8. มีการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำแผน |
P |
|
9. มีการวิเคราะห์ศักยภาพของท้องถิ่น (SWOT)เพื่อประเมินสถานภาพ การพัฒนาท้องถิ่น |
P |
|
10. มีการกำหนดวิสัยทัศน์และภารกิจหลักการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้อง กับศักยภาพของท้องถิ่น |
P |
|
11. มีการกำหนดวิสัยทัศน์และภารกิจหลักการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์จังหวัด |
P |
|
12. มีการกำหนดจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน |
P |
|
13. มีการกำหนดเป้าหมายการพัฒนาท้องถิ่น |
P |
|
14. มีการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา |
P |
|
15. มีการกำหนดยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจังหวัด |
P |
|
16. มีการอนุมัติและประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา |
P |
|
17. มีการจัดทำบัญชีกลุ่มโครงการในแผนยุทธศาสตร์ |
P |
|
18. มีการกำหนดรูปแบบการติดตามประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ |
P |
|
![]() |
1. จำนวนงบประมาณไม่เพียงพอในการดำเนินงานด้านโครงสร้างพื้นฐาน เนื่องจากบางโครงการต้องใช้เงินงบประมาณจำนวนมากในการดำเนินโครงการ
2. ปัญหาที่เกิดจากภัยธรรมชาติที่ไม่สามารถควบคุมได้ ทำให้การดำเนินการบางโครงการเป็นไปด้วยความล่าช้า
3. ได้รับงบประมาณล่าช้า
4. โครงการที่บรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่นมีจำนวนมากเกินไป ไม่สามารถดำเนินการได้ทุกโครงการ
ข้อเสนอแนะ
1. นำโครงการที่เกินศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลไปประสานกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อขอกรับการสนับสนุนงบประมาณต่อไป
2. ควรดำเนินการซักซ้อมและทำความเข้าใจถึงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานที่ไม่สามารถควบคุมได้
3. ควรจัดทำแผนตามสภาพปัญหาของพื้นที่และตามความจำเป็น
4. ควรมีการสรุปติดตามแผนเป็นรายไตรมาส เพื่อติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงาน
5. ควรทีการติดตามประเมินผลตามแผนการดำเนินงานที่มีงบประมาณอยู่แล้ว
รายงานด้านงบประมาณรายรับ – รายจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2561
รอบไตรมาสแรก (1 ตุลาคม 2560 – 28 กุมภาพันธ์ 2561)
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปี 2561 ตั้งจ่ายไว้ 47,745,120 บาท
รายรับ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 รายรับทั้งสิ้น จำนวนเงิน 26,606,985.30 บาท แยกเป็น
- |
ภาษีโรงเรือนและที่ดิน |
263,544 |
บาท |
- |
ภาษีบำรุงท้องที่ |
51,738 |
บาท |
- |
ภาษีป้าย |
147,724 |
บาท |
- |
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1 ใน 9 |
1,552,279.83 |
บาท |
- - |
ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์หรือล้อเลื่อน ภาษีมูลค่าเพิ่มตาม พรบ. |
125,489.71 4,549,072.73 |
บาท บาท |
- |
ภาษีธุรกิจเฉพาะ |
29,768.53 |
บาท |
- |
ภาษีสุรา |
- |
บาท |
- |
ภาษีสรรพสามิต |
3,212,780.99 |
บาท |
- |
ค่าภาคหลวงแร่ |
13,007.98 |
บาท |
- |
ค่าภาคหลวงปิโตรเลียม |
23,041.04 |
บาท |
- |
เงินที่เก็บตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติ |
- |
บาท |
-
- |
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมประมวลกฎหมายที่ดิน ค่าธรรมเนียมน้ำบาดาล |
825,432
- |
บาท
บาท |
- |
ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตขายสุรา |
2,376.50 |
บาท |
- |
ค่าปรับผู้กระทำผิดกฎหมายจราจรทางบก |
- |
บาท |
- -
- |
ค่าปรับผิดสัญญา ค่าใบอนุญาตประกอบการค้าสำหรับกิจการที่อันตรายต่อสุขภาพ ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร |
- 31,120
110,626.99 |
บาท บาท
บาท |
- |
ค่าขายแบบแปลน |
6,000 |
บาท |
- - |
รายได้จากสาธารณูปโภคอื่น ๆ (ค่าน้ำประปา) รายได้เบ็ดเตล็ดอื่น ๆ |
329,296 1,000 |
บาท บาท |
- |
เงินอุดหนุนทั่วไป |
6,156,087 |
บาท |
- อุดหนุนระบุวัตถุประสงค์ จำนวน 8,822,115 บาท
- เบี้ยยังชีพผู้สุงอายุ 4,254,000 บาท
- เบี้ยพิการ 1,051,200 บาท
- เบี้ยเอดส์ 61,500 บาท
- ค่าตอบแทนครู 1,558,530 บาท
- อาหารเสริมนม (ประถม) 328,627 บาท
- อาหารกลางวัน (ประถม) 686,000 บาท
- อาหารเสริมนม (ศดว.) 172,458 บาท
- อาหารกลางวัน (ศดว.) 450,000 บาท
- สื่อการสอน ศดว. 259,800 บาท
- อุดหนุนเฉพาะกิจ จำนวน 354,485 บาท
รายจ่ายทั้งสิ้น จำนวนเงิน 14,825,837.02 บาท แยกเป็น
- |
งบกลาง |
1,548,078.60 |
บาท |
- |
เงินเดือนและค่าจ้างประจำ |
8,698,641 |
บาท |
- |
ค่าตอบแทน |
360,345 |
บาท |
- |
ค่าใช้สอย |
1,799,554 |
บาท |
- |
ค่าวัสดุ |
1,211,751.12 |
บาท |
- - |
ค่าสาธารณูปโภค รายจ่ายอื่น |
402,667.30 |
บาท บาท |
- |
เงินอุดหนุน |
427,000 |
บาท |
- |
ค่าครุภัณฑ์ |
77,800 |
บาท |
- |
ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง |
300,000 |
บาท |
- |
เงินอุดหนุนระบุวัตถุประสงค์ |
- |
บาท |
ส่วนที่ 4
การประเมินความพึงพอใจต่อผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สรุปผล แบบประเมินความพึงพอใจต่อผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาพรวม
โดยการสุ่มตัวอย่าง แจกแบบประเมิน จำนวน 135 ชุด
เพศ - ชาย จำนวน 62 ราย
- หญิง จำนวน 73 ราย
อายุ - ต่ำกว่า 20 ปี จำนวน 14 ราย - 20 – 30 ปี จำนวน 32 ราย - 31 – 40 ปี จำนวน 34 ราย
- 41 – 50 ปี จำนวน 27 ราย - 51 – 60 ปี จำนวน 17 ราย - มากกว่า 60 ปี จำนวน 11 ราย
การศึกษา - ประถมศึกษา จำนวน 52 ราย - มัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า จำนวน 47 ราย
- อนุปริญญา หรือเทียบเท่า จำนวน 10 ราย - ปริญญาตรี จำนวน 10 ราย
- สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 1 ราย - อื่น ๆ จำนวน 15 ราย
อาชีพ - รับราชการ จำนวน 9 ราย - เอกชน/รัฐวิสาหกิจ จำนวน 9 ราย
- ค้าขาย ธุรกิจส่วนตัว จำนวน 16 ราย - รับจ้าง จำนวน 31 ราย
- นักเรียน นักศึกษา จำนวน 15 ราย - เกษตรกร จำนวน 55 ราย
- อื่น ๆ จำนวน - ราย
ในภาพรวม
ประเด็น |
พอใจมาก (ราย) |
คิดเป็นร้อยละ |
พอใจ (ราย) |
คิดเป็นร้อยละ |
ไม่พอใจ (ราย) |
คิดเป็นร้อยละ |
1) การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในโครงการ/กิจกรรม |
54 |
40.00 |
68 |
50.37 |
13 |
9.63 |
2) การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ข้อมูลของโครงการ/กิจกรรม |
48 |
35.56 |
70 |
51.85 |
17 |
12.59 |
3) การเปิดโอกาสให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นในโครงการ/กิจกรรม |
48 |
35.56 |