
ส่วนที่ 2
ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. ความสัมพันธ์ระหว่างแผนพัฒนาระดับมหาภาค
ในการกระจายอำนาจการบริหารของรัฐไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดังกล่าว ตามพระราชบัญญัติ กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนและกระบวนการ ในการถ่ายโอนภารกิจ งบประมาณ และอัตรากำลังของราชการส่วนกลางและราชการส่วนภูมิภาคไปให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีกำหนดระยะเวลาและเงื่อนไขที่ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า ในอนาคตอันใกล้นี้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นจะได้รับการจัดสรรงบประมาณในสัดส่วนที่สูงขึ้น มีอัตรากำลังมากขึ้น รวมทั้งมีภารกิจและ หน้าที่ความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นตามกันไปด้วย
จากผลการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งจะต้องมี การเตรียมการเพื่อรองรับมาตรการในการถ่ายโอนภารกิจ งบประมาณและอัตรากำลังจากหน่วยงานส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาคตามที่กฎหมายกำหนด เพื่อที่จะสามารถปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งหมายความว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องเร่งกำหนดจุดหมายหรือทิศทางในการพัฒนาของตนให้ชัดเจน มีการกำหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายในการพัฒนาอย่างเป็นระบบ โดยมี ความครอบคลุมภารกิจการพัฒนาในทุกๆ ด้าน อันเป็นการแสดงให้เห็นถึงความพร้อมและศักยภาพขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่จะสามารถบริหารงานในความรับผิดชอบตามที่ราชการส่วนกลางและราชการส่วนภูมิภาค จะถ่ายโอนมาให้อย่างมีประสิทธิภาพ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจึงถือเป็นเครื่องมือสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยสนับสนุนในการวิเคราะห์สภาพ ปัญหา/ความต้องการขององค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อนำไปสู่การกำหนดจุดมุ่งหมายในการพัฒนา การกำหนด ภารกิจ และแนวทางการดำเนินงานเพื่อนำไปสู่จุดมุ่งหมายดังกล่าวอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะช่วยให้การกำหนด แผนงาน/โครงการ มีทิศทางที่สอดคล้องและประสาน สนับสนุนในจุดมุ่งหมายร่วมกัน ซึ่งนอกจากจะทำให้ปัญหา/ ความต้องการได้รับการตอบสนองอย่างเหมาะสมแล้ว ยังเป็นการบริหารทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิด ประโยชน์สูงสุดในขณะเดียวกันด้วย
หลักการสำคัญที่ถือเป็นหัวใจของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาก็คือ การกำหนดจุดมุ่งหมายการ พัฒนาและการกำหนดแนวทางการพัฒนาที่จะนำไปสู่การบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้ทั้งนี้เพราะหากไม่มี จุดมุ่งหมายในการพัฒนาที่ชัดเจนแล้ว การบริหารงานก็จะเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าไปเรื่อยๆ เมื่อมีปัญหา อย่างซ้ำซ้อนและไม่มีที่สิ้นสุดแล้ว ยังอาจทำให้ปัญหามีความรุนแรงมากขึ้นจนเกินศักยภาพและแก้ไขได้ดังนั้น การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาในครั้งนี้จึงเป็นโอกาสอันดีที่จะได้กำหนดจุดมุ่งหมายและแนวทางการพัฒนา ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ และศักยภาพอย่างเป็นระบบ ซึ่งนอกจากจะเป็นการพัฒนา ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดแล้ว ยังเป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อ รองรับการถ่ายโอนภารกิจจากหน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาคอีกทางหนึ่งด้วย
1.1 แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 256๑-25๘๐)
วิสัยทัศน์ประเทศไทย “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
1. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
๑.๑ ประชาชนอยู่ดีกินดีและมีความสุข
๑.๒ บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ
๑.๓ กองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีความ
พร้อมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง
๑.๔ ประเทศไทยมีบทบาทดานความมั่นคงเป็นที่ชื่นชมและได้รับการยอมรับโดย ประชาคม
ระหว่างประเทศ
๑.๕ การบริหารจัดการความมั่นคง มีผลสำเร็จที่เป็นรูปธรรมอย่างมีประสิทธิภาพ
2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วเศรษฐกิจเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
๓.ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
๓.๑ คนไทยเป็นคนดีคนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
๓.๒ สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนตอการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
4. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม
๔.๑ สร้างความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้ำในทุกมิติ
๔.๒ กระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามา
เป็นกำลังของการพัฒนาประเทศในทุกระดับ
๔.๓ เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา การพึ่งตนเองและการจัดการ
ตนเอง เพื่อสร้างสังคมคุณภาพ
5. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติมโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
๕.๑ อนุรักษ์และรักษาทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ให้คนรุ่นต่อไปได้ใช้
อย่างยั่งยืน มีสมดุล
๕.๒ ฟื้นฟูและสร้างใหม่ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อลดผลกระทบทางลบ
จากการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจของประเทศ
๕.๓ ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สมดุล
ภายในขีดความสามารถของระบบนิเวศ
๕.๔ ยกระดับกระบวนทัศน์ เพื่อกำหนดอนาคตประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
และวัฒนธรรม บนหลักของการมีส่วนร่วม และธรรมาภิบาล
6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
6.๑ ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนอง
ความ ต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
6.๒ ภาครัฐมีขนาดที่เล็กลง พร้อมปรับตัวให้ทันตอการเปลี่ยนแปลง
6.๓ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
6.๔ กระบวนการยุติธรรม เป็นไปเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมของประเทศ
1.๒ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 256๑-2564)
1. การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
๑.๑ เพื่อปรับเปลี่ยนให้คนในสังคมไทยมีค่านิยมตามบรรทัดฐานที่ดีทางสังคม
๑.๒ เพื่อเตรียมคนในสังคมไทยให้มีทักษะในการดำรงชีวิตสำหรับโลกศตวรรษที่ ๒๑
๑.๓ เพื่อส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดีตลอดช่วงชีวิต
๑.๔ เพื่อเสริมสร้างสถาบันทางสังคมให้มีความเข้มแข็งเอื้อต่อการพัฒนาคนและประเทศ
2. การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
๒.๑ เพื่อขยายโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมให้แก่กลุ่มประชากรร้อยละ ๔๐ ที่มีรายได้ต่ำสุด ๒.๒ เพื่อให้คนไทยทุกคนเข้าถึงบริการทางสังคมที่มีคุณภาพได้อย่างทั่วถึง
๒.๓ เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน
3. การสรางความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันและอย่างยั่งยืน
3.1 การบริหารจัดการเศรษฐกิจสวนรวม ่
3.1.1 เพื่อสร้างความเข้มแข็งของแรงขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจให้สนับสนุนเป้าหมาย
การ เพิ่มรายได้ต่อหัว
๓.1.2 เพื่อเพิ่มศักยภาพของฐานการผลิตและฐานรายได้เดิมและสร้างฐานการผลิต
และ รายได้ใหม่
3.1.3 เพื่อสนับสนุนการกระจายการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการ
แบ่งปัน ผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม และสนับสนุนเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
3.1.4 เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจสร้างความเข้มแข็งและรักษาวินัยทาง
การเงิน การคลังและพัฒนาเครื่องมือทางการเงินที่สนับสนุนการระดมทุนที่มีประสิทธิภาพ
3.2 สร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจรายสาขาเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการ แข่งขัน
ของภาคเกษตร อุตสาหกรรม บริการ และการค้าการลงทุน ดังนี้
3.๒.1 เพื่อส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมในการสร้างมูลค่าและเพิ่มประสิทธิภาพการ
ผลิต ของสินค้าและบริการ
3.๒.2 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพให้เป็นฐานรายได้ใหม่ที่สำคัญ พัฒนา
ระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงและมีการปรับตัวให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ เพื่อให้ฐาน การผลิตภาคเกษตรและรายได้เกษตรกรมีความมั่นคง
3.๒.3 เพื่อเร่งผลักดันให้สินค้าเกษตรและอาหารของไทยมีความโดดเด่นในด้าน
คุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยในตลาดโลก
3.๒.4 เพื่อเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมสำคัญเดิมให้สามารถต่อยอดสู่
อุตสาหกรรม แห่งอนาคตที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่อย่างเข้มข้น และสร้างรากฐานการพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ บนฐานของความ เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๓.๒.๕ เพื่อเพิ่มศักยภาพของฐานบริการเดิมและขยายฐานบริการใหม่ในการปรับตัว
สู่ เศรษฐกิจฐานบริการที่เข้มแข็งขึ้น รวมทั้งพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้เติบโตอย่างสมดุลและยั่งยืน
๓.๒.๖ เพื่อพัฒนาปัจจัยสนับสนุนและอำนวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุน
ให้ สนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการไทย รวมทั้งพัฒนาสังคม ผู้ประกอบการ
๓.๒.๗ เพื่อพัฒนาระบบการเงินของประเทศให้สนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถใน
การแข่งขันของภาคการผลิตและบริการ การค้า และการลงทุน
๓.๒.๘ เพื่อสร้างความเข้มแข็งขององค์กรการเงินฐานรากและระบบสหกรณ์ให้
สนับสนุนบริการทางการเงินในระดับฐานรากและเกษตรกรรายย่อย
4. การเติบโตและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
๔.๑ รักษา ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและมีการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม
๔.๒ สร้างความมั่นคงด้านน้ำของประเทศ และบริหารจัดการทรัพยากรน้ำทั้งระบบให้มี
ประสิทธิภาพ
๔.๓ บริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และลดมลพิษให้มีคุณภาพดีขึ้น
๔.๔ พัฒนาขีดความสามารถในการลดก๊าซเรือนกระจกและการปรับตัวเพื่อลดผลกระทบจาก
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการรับมือกับภัยพิบัติ
5. ด้านความมั่นคง
๕.๑ เพื่อปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์และเสริมสร้างความมั่นคงภายใน รวมทั้งป้องกัน
ปัญหา ภัยคุกคามที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของชาติ
๕.๒ เพื่อสร้างความพร้อมและผนึกกำลังของทุกภาคส่วน ให้มีขีดความสามารถในการบริหาร
จัดการด้านความมั่นคง และมีศักยภาพในการปูองกันและแก้ไขสถานการณ์ที่เกิดจากภัยคุกคามทั้งภัยทาง ทหาร และภัยคุกคามอื่นๆ
๕.๓ เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับมิตรประเทศในการสนับสนุนการรักษา
ความ สงบสุขและผลประโยชน์ของชาติ
๕.๔ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารนโยบายด้านความมั่นคงและนโยบายทางเศรษฐกิจ
สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีความเป็นเอกภาพ
6. การเพิ่มประสิทธิภาพและธรรมาภิบาลในภาครัฐ
๑.๑ เพื่อให้ภาครัฐมีขนาดเล็ก มีการบริหารจัดการที่ดีและได้มาตรฐานสากล
๑.๒ เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบริหารจัดการและให้บริการแก่ประชาชนใน
ท้องถิ่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และโปร่งใสตรวจสอบได้
๑.๓ เพื่อลดปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบของประเทศ
๑.๔ เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการทางกฎหมายให้สามารถอำนวยความสะดวกด้วยความ
รวดเร็วและเป็นธรรมแก่ประชาชน
7. ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกสิ
7.๑ เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวกด้านการขนส่งและการค้า รวมทั้งมี
กลไก กำกับ ดูแล การประกอบกิจการขนส่งที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใสให้สามารถ สนับสนุนการเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และยกระดับคุณภาพชีวิตให้แก่ประชาชน
๑.๒ เพื่อสร้างความมั่นคงทางพลังงาน เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และส่งเสริมการใช้
พลังงานทดแทนและพลังงานสะอาด ตลอดจนขยายโอกาสทางธุรกิจในภูมิภาคอาเซียน
๑.๓ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและขยายการให้บริการด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลอย่างทั่วถึง ทั้ง
ประเทศ ในราคาที่เหมาะสมเป็นธรรม และส่งเสริมธุรกิจดิจิทัลใหม่ และนวัตกรรม รวมทั้ง พัฒนาระบบ ความ ปลอดภัยทางไซเบอร์ให้มีความมั่นคง และคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลให้แก่ผู้ใช้บริการ
๑.๔ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและขยายการให้บริการโครงสร้างพื้นฐานด้านน้ำประปาทั้งใน
เชิงปริมาณและคุณภาพให้ครอบคลุมทั่วประเทศ ลดอัตราน้ำสูญเสียในระบบประปาและสร้างกลไกการบริหาร จัดการการประกอบกิจการน้ำประปาในภาพรวมของประเทศ
๑.๕ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่เกิดจากลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อลดการนำเข้า
จาก ต่างประเทศ และสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ
8. ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีวิจัย และนวัตกรรม
๘.๑ เพื่อสร้างความเข้มแข็งและยกระดับความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้น
ก้าวหน้า ให้สนับสนุนการสร้างมูลค่าของสาขาการผลิตและบริการเป้าหมาย
๘.๒ เพื่อสร้างโอกาสการเข้าถึงและนำเทคโนโลยีไปใช้ให้กับเกษตรกรรายย่อย วิสาหกิจ
ชุมชน และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
๘.๓ เพื่อพัฒนานวัตกรรมที่มุ่งเน้นการลดความเหลื่อมล้าและยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน ผู้สูงอายุผู้ด้อยโอกาสทางสังคม และเพิ่มคุณภาพสิ่งแวดล้อม
๘.๔ เพื่อบูรณาการระบบบริหารจัดการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีวิจัย และนวัตกรรมให้สามารถ
ดำเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน
9. การพัฒนาภาคเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ
๙.๑ เพื่อกระจายความเจริญและโอกาสทางเศรษฐกิจไปสู่ภูมิภาคอย่างทั่วถึงมากขึ้น
๙.๒ เพื่อพัฒนาเมืองศูนย์กลางของจังหวัดให้เป็นเมืองน่าอยู่สำหรับคนทุกกลุ่ม
๙.๓ เพื่อพัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่ฐานเศรษฐกิจหลักให้ขยายตัวอย่างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
และ เพิ่มคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน
๙.๔ เพื่อพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ให้สนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและ
การพัฒนาในพื้นที่อย่างยั่งยืน
10. ด้านการต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน และภูมิภาค
๑๐.๑ เพื่อใช้ประโยชน์จากจุดเด่นของทำเล ที่ตั้งของประเทศไทยที่เป็นจุดเชื่อมโยงสำคัญ
ของ แนวระเบียงเศรษฐกิจต่างๆ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มศักยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของไทย
๑๐.๒ เพื่อขยายโอกาสด้านการค้าการลงทุนระหว่างประเทศ และยกระดับให้ประเทศเป็น
ฐานการผลิตและการลงทุนที่มีศักยภาพและโดดเด่น
๑๐.๓ เพื่อเพิ่มบทบาทของไทยในเวทีโลกด้วยการส่งเสริมบทบาทที่สร้างสรรค์ของไทยใน
กรอบ ความร่วมมือต่างๆ รวมทั้งการสนับสนุนการขับเคลื่อนการพัฒนาภายใต้กรอบ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)
1.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
วิสัยทัศน์
จากสถานะของประเทศและบริบทการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่ประเทศกำลังประสบอยู่ ทำให้
การกำหนด วิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยังคงมีความต่อเนื่องจากวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และ กรอบ หลักการของการวางแผนที่น้อมนำและประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็นศูนย์กลางของ การพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม การพัฒนาที่ยึดหลักสมดุล ยั่งยืน โดยวิสัยทัศน์ของการพัฒนาใน แผนพัฒนาฯ ฉบับ ที่ 12 ต้องให้ความสำคัญกับการกำหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทย จากประเทศที่มี รายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และนำไปสู่ การบรรลุวิสัยทัศน์ระยะยาว “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ของประเทศ
เป้าหมายการพัฒนาประเทศ
1. การหลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง
(1) เศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 5.0
(2) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว (GDP Per Capita) และรายได้ประชาชาติต่อหัว
(GNP Per Capita) ณ สิ้นแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ในปี 2564 เพิ่มขึ้นเป็น 317,051 บาท (9,325 ดอลลาร์ สรอ.) และ 301,199 บาท (8,859 ดอลลาร์ สรอ.) ต่อคนต่อปี
(3) ผลิตภาพการผลิตเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าเฉลี่ยร้อยละ 2.5 ต่อปี
(4) การลงทุนรวมขยายตัวไม่ต่ำกว่าเฉลี่ยร้อยละ 8.0 (การขยายตัวของการ ลงทุนภาครัฐไม่
ต่ำกว่าร้อยละ 10.0 และการลงทุนของภาคเอกชนขยายตัวไม่ต่ำกว่าเฉลี่ยร้อยละ 7.5 ในขณะ ที่ปริมาณการ ส่งออกขยายตัวเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 4.0 ต่อปี)
2. การพัฒนาศักยภาพคนให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศและการสร้าง สังคมสูงวัยอย่างมี
คุณภาพ
Security) และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
(2) การศึกษาและการเรียนรู้ได้รับการพัฒนาคุณภาพ
(3) สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งเป็นฐานรากที่เอื้อต่อการพัฒนาคน
3. การลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
(1) การกระจายรายได้มีความเท่าเทียมกันมากขึ้น
(2) บริการทางสังคมมีคุณภาพและมีการกระจายอย่างทั่วถึง
4. การสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(1) รักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร สร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และ การใช้ประโยชน์
อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม
(2) ขับเคลื่อนประเทศสู่เศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
(3) เพิ่มขีดความสามารถในการรับมือภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ
(4) เพิ่มประสิทธิภาพและเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
(5) มีการบริหารจัดการน้ำให้สมดุลระหว่างการอุปสงค์และอุปทานของน้ำ
5. การบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ
(1) การบริหารงานภาครัฐที่โปร่งใส เป็นธรรม มีประสิทธิภาพ และมีส่วนร่วม
(2) ขจัดการทุจริตคอร์รัปชั่น
(3) มีการกระจายอำนาจที่เหมาะสม
กรอบยุทธศาสตร์แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์
หลัก ดังนี้
1.ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
2.ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
3.ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
4.ยุทธศาสตร์ด้านการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
5.ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
6.ยุทธศาสตร์ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพและธรรมาภิบาลในภาครัฐ
7.ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
8.ยุทธศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม
9.ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
10.ยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน และภูมิภาค
1.4 แผนพัฒนาภาค / แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด / แผนพัฒนาจังหวัด
1) แผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
โครงสร้างกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง “ร้อยแก่นสารสินธุ์” ประกอบด้วย
1. จังหวัดร้อยเอ็ด
2. จังหวัดขอนแก่น
3. จังหวัดมหาสารคาม
4. จังหวัดกาฬสินธุ์
วิสัยทัศน์กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
“ศูนย์กลางการผลิต การค้า และการลงทุนอุตสาหกรรมแปรรูป พืชอาหาร และพลังงานทดแทนสู่สากล”
ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
♦ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิต ภาคการเกษตร
♦ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและเสริมสร้างความพร้อมของพื้นที่ในการส่งเสริมการลงทุน
♦ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาระบบการบริหารงานกลุ่มจังหวัด
ทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด
1. แนวคิดการพัฒนา
ใช้ศักยภาพร่วมที่เป็นจุดแข็งของกลุ่มจังหวัด คือการผลิตพืชเศรษฐกิจหลัก (ข้าว อ้อย
มันสำปะหลัง) มาเป็นปัจจัยพื้นฐานของการพัฒนา
2. เป้าหมายการพัฒนา
เพื่อสร้างความเข้มแข็งในด้านการผลิต การค้า การแปรรูป และการลงทุนของพืชเศรษฐกิจหลัก (ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง)
3. ผลลัพธ์การพัฒนา
1. เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันให้กับพืชเศรษฐกิจหลัก
3) แผนพัฒนาจังหวัดกาฬสินธุ์
วิสัยทัศน์จังหวัดกาฬสินธุ์
“ กาฬสินธุ์เมืองน่าอยู่ แหล่งผลิตอาหารปลอดภัย ผ้าไหมแพรวาหนึ่งเดียว แหล่งท่องเที่ยวน่าชม ”
ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกาฬสินธุ์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาคน สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตประเพณีและวัฒนธรรม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล
กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการสาธารณสุขและการจัดระบบสวัสดิการสังคมและคุ้มครองสิทธิ
ประชาชน
กลยุทธ์ที่ 4 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค
กลยุทธ์ที่ 6 การส่งเสริมการมีอาชีพ รายได้ และความเข้มแข็งของชุมชน
กลยุทธ์ที่ 7 ส่งเสริมความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด
กลยุทธ์ที่ 8 การบูรณาการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณภัยและเร่งรัดช่วยเหลือฟื้นฟู
ผู้ประสบภัย
กลยุทธ์ที่ 9 ส่งเสริมสนับสนุนความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว
กลยุทธ์ที่ 10 ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน
กลยุทธ์ที่ 11 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจการค้า การบริการและอุตสาหกรรม
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาการผลิตทางการเกษตร
กลยุทธ์ที่ 1 เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร
กลยุทธ์ที่ 2 เพิ่มสินค้าเกษตรที่ได้คุณภาพมาตรฐานและปลอดภัย (GAP)
กลยุทธ์ที่ 3 การสร้างมูลค่าเพิ่ม
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและศูนย์สารสนเทศข้อมูลทางการเกษตร
กลยุทธ์ที่ 5 การบริหารจัดการองค์กรเกษตรให้เข้มแข็งและกินดีอยู่ดีมีรายได้เพิ่มขึ้นตาม
แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริมให้มีการใช้ปัจจัยการผลิตที่มาจากอินทรีย์ชีวภาพที่มีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาผ้าไหมแพรวา
กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาผู้ผลิต / ผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาประสิทธิภาพปัจจัยการผลิตผ้าไหมแพรวาและผ้า
ทอพื้นเมือง
กลยุทธ์ที่ 4 การเชื่อมโยงผ้าไหมแพรวากับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมมาตรฐานการผลิตและระบบควบคุมคุณภาพ
กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริมและเพิ่มช่องทางการตลาดระหว่างภูมิภาคและระหว่างประเทศ
กลยุทธ์ที่ 7 การวิจัยการผลิตและการตลาดผ้าไหมแพรวา
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาการท่องเที่ยว
กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน
กลยุทธ์ที่ 2 เสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการและบุคลากรให้มีศักยภาพ
กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการท่องเที่ยวในทุกประเภท เช่น การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเชิงนิเวศน์
เชิงสุขภาพ ฯลฯ
กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และฐานข้อมูลด้านการท่องเที่ยว
กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาครัฐ เอกชน ชุมชน และองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นในการพัฒนาด้านการบริการการท่องเที่ยว
กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริมและเพิ่มช่องทางการท่องเที่ยวเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาคและระหว่างประเทศ
2. ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2.1 วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนตำบลบัวขาว
2.2 พันธกิจ
1. การเสริมสร้างรากฐานของเศรษฐกิจและสังคมไปสู่เมืองน่าอยู่
2. การพัฒนาปรับปรุงแหล่งน้ำให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
3. การเพิ่มขีดความสามารถในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเสริมสร้างลักษณะในการผลิตและการตลาด
4. ส่งเสริมสนับสนุนต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นเพิ่มประสิทธิภาพในด้านการผลิต
5. ส่งเสริมสนับสนุน วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นอย่างยังยืน
6. การเสริมสร้างการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพัฒนาแบบบูรณาการ
2.3 ยุทธศาสตร์
1. ยุทธศาสตร์พัฒนาด้านเมืองน่าอยู่
2. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำ
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการเกษตร
4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านวิสาหกิจ
5. ยุทธศาสตร์ด้านเลิศล้ำวัฒนธรรมประเพณี
6. ยุทธศาสตร์ด้านการเสริมสร้างการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพัฒนาแบบบูรณา
การ
- การเสริมสร้างรากฐานของเศรษฐกิจและสังคมไปสู่เมืองน่าอยู่
1.1 โครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง
1.1.1 การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
1.1.2 การพัฒนาด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมอย่างยังยื่น
1.1.3 การสร้างด้านชุมชนปลอดยาเสพติด ปลอดอาชญากรรม และค
![]() |
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 และระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา กำหนดให้ต้องมีการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งกำหนดไว้ดังนี้
ข้อ 28 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย
โดยให้คณะกรรมการเลือกกรรมการหนึ่งคนทำหน้าที่ประธานคณะกรรมการและกรรมการ
อีกหนึ่งคนทำหน้าที่เลขานุการของคณะกรรมการ
กรรมการตามข้อ 28 ให้มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสองปี และอาจได้รับการคัดเลือกอีกได้ ซึ่งตามระเบียบข้อ 28 นี้ ทางองค์การบริหารส่วนตำบลบัวขาวได้แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลบัวขาวประกอบด้วย
1. นายทองบ่อ อุทรักษ์ ปลัด อบต.บัวขาว ประธานกรรมการ
2. นายอเนก ว่องไว ผู้แทนเกษตรอำเภอกุฉินารายณ์ กรรมการ
3. นางรตี ปาปะโข ผู้แทนพัฒนาชุมชนอำเภอกุฉินารายณ์ กรรมการ
4.นายมนตรี ไชยยนต์ ส.อบต.ม.1 กรรมการ
5.นายนภดล แสนวงษา ส.อบต.ม.7 กรรมการ
6.นางภาสินี เพริดพราว ส.อบต.ม.4 กรรมการ
7. นางศรีอำภรณ์ ดอกคำ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
8. นายสงคราม พิชัยช่วง ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
9. นายสุเพียร ภูมิสาขา ประชาคมหมู่บ้าน กรรมการ
10.นายเทพนิมิต อุปนิ ประชาคมหมู่บ้าน กรรมการ
11. นายรณฤทธิ์ ชื่มชม รอง ปลัด อบต.บัวขาว กรรมการ
12. นางสมัญญา แสงไกร ผอ.กองคลัง กรรมการ
13. นายบุญตา นามมนตรี หัวหน้าสำนักปลัด กรรมการ
14. นายวิชวรรต สายบุ่งคล้า ผอ.กองช่าง กรรมการ
15.นางวราพร สิทธิรมย์ ผอ.กองการศึกษาฯ กรรมการ
16.นางสาวทิพอุษา บุ่งนาม รก.ผอ.สาธารณสุขฯ กรรมการ
17. นางอุมารุจี ลุนจักร นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรรมการ/เลขานุการ
18. นางสาวมณีวรรณ แสงฤทธิ์ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์ฯ กรรมการ/ผู้ช่วยเลขานุการ
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2548 ข้อ 29 และตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ข้อ 13, 14 คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้
ผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอต่อสภาท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น พร้อมทั้งประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบในที่เปิดเผยภายในสิบห้าวันนับแต่วันรายงานผลและเสนอความเห็นดังกล่าวและต้องปิดประกาศไว้เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าสิบวัน โดยอย่างน้อยปีละสองครั้งภายในเดือนเมษายนและภายในเดือนตุลาคมของทุกปี
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2548 ข้อ 30 และตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2559 ข้อ 14 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจมอบให้หน่วยงานหรือบุคคลภายนอกดำเนินการหรือร่วมดำเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาได้ โดยมีขั้นตอนดำเนินการ ดังนี้
และรายละเอียดของงานที่จะมอบหมายให้หน่วยงานหรือบุคคลภายนอกดำเนินการ เพื่อเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
ประเมินผลรายงานผลการดำเนินการ ซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผล ต่อคณะกรรมการติดตามและประเมินผล เพื่อประเมินผลการรายงานผล เสนอความเห็นต่อผู้บริหารท้องถิ่น
พัฒนาท้องถิ่น พร้อมทั้งประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบในที่เปิดเผยภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอผลการติดตามปละประเมินผลดังกล่าวและต้องปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน โดยอย่างน้อยปีละสองครั้งภายในเดือนเมษายนและภายในเดือนตุลาคมของทุกปี
ข้อ 31 เพื่อประโยชน์ของประชาชนโดยส่วนรวมและเพื่อให้การบริหารงานขององค์กรปก
ครองส่วนท้องถิ่น สอดคล้องกับแนวนโยบายของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย อาจจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ตามความเหมาะสม
การติดตามและประเมินผลการพัฒนาท้องถิ่นนั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะชี้ให้เห็นถึงผลการดำเนินงานแผนที่ได้วางไว้ ว่าสามารถบรรลุเป้าหมายหรือภารกิจที่ได้ตั้งไว้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด และติดขัดหรือมีอุปสรรคด้านใดบ้าง ที่ทำให้การดำเนินงานไม่ประสบผลสำเร็จ สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ตรงตามความต้องการหรือไม่ อย่างไร
ในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนานี้ จะยึดตามแผนการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2561 เป็นหลักเนื่องจากได้กำหนดระยะเวลา เป้าหมาย และงบประมาณที่ชัดเจน สามารถติดตามและประเมินผลที่เข้าใจได้ง่าย
¶¶¶¶¶¶¶¶¶¶¶
![]() |
- การเสริมสร้างรากฐานของเศรษฐกิจและสังคมไปสู่เมืองน่าอยู่
1.1 โครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง
1.1.1 การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
1.1.2 การพัฒนาด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมอย่างยังยื่น
1.1.3 การสร้างด้านชุมชนปลอดยาเสพติด ปลอดอาชญากรรม และคอร์รัปชั่น
1.1.4 การพัฒนาด้านสวัสดิการสังคม
1.1.5 การพัฒนาด้านการยกระดับและพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา
- การพัฒนาปรับปรุงแหล่งน้ำให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
2.1
-การเพิ่มขีดความสามารถในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเสริมสร้างลักษณะในการผลิตและการตลาด
3.1โครงการพัฒนาการผลิต แปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตรและส่งเสริมกิจการด้านการตลาด
3.1.1 ส่งเสริมกลุ่มอาชีพเกษตรกร
3.1.2 ส่งเสริมการรักษาแหล่งเงินทุนและตลาดให้แก่เกษตรกร
4. แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านวิสาหกิจ
- ส่งเสริมสนับสนุนต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นเพิ่มประสิทธิภาพในด้านการผลิต
4.1การพัฒนาส่งเสริมและเพิ่มทักษะในการผลิตและแปรรูปสินค้าหัตถกรรม
5. แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ด้านเลิศล้ำวัฒนธรรมประเพณี
- ส่งเสริมสนับสนุน วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นอย่างยังยืน
5.1 การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
6. แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการ
- การเสริมสร้างการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพัฒนาแบบบูรณาการ
6.1 โครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการแบบบูรณาการ
6.1.1 การพัฒนาการให้บริการประชาชนด้านข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสารสนเทศ
6.1.2 การพัฒนาองค์การและบุคลากรในท้องถิ่น บริหารกิจการข่ายเมืองที่ดี ให้เป็นไปตามการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และหลักธรรมภิบาล
“บัวขาวเมืองน่าอยู่ ควบคู่แหล่งน้ำ
นำเกษตร วิสาหกิจ เพริดพิศวัฒนธรรม”
1. การเสริมสร้างรากฐานของเศรษฐกิจและสังคมไปสู่เมืองน่าอยู่
2.การพัฒนาปรับปรุงแหล่งน้ำให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
3.การเพิ่มขีดความสามารถในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเสริมสร้างลักษณะในการผลิตและการตลาด
4.ส่งเสริมสนับสนุนต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นเพิ่มประสิทธิภาพในด้านการผลิต
5.ส่งเสริมสนับสนุน วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นอย่างยังยืน
6.การเสริมสร้างการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพัฒนาแบบบูรณาการ
¶¶¶¶¶¶¶¶¶¶¶
![]() |
แบบที่ 1 เป็นแบบประเมินตนเองในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยจะ
ทำการประเมินและรายงานทุก ๆ ครั้ง หลังจากที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์แล้ว
ชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : องค์การบริหารส่วนตำบลบัวขาว อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ประเด็นการประเมิน |
มี การดำเนินงาน |
ไม่มี การดำเนินงาน |
ส่วนที่ 1 คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น |
|
|
1. มีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น |
P |
|
2. มีการจัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น |
P |
|
3. มีการจัดประชุมอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ |
P |
|
4. มีการจัดตั้งคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น |
P |
|
5. มีการจัดประชุมคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น |
P |
|
6. มีคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและประชาคมท้องถิ่นพิจารณา ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา |
P |
|
ส่วนที่ 2 การจัดทำแผนการพัฒนาท้องถิ่น |
|
|
7. มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสำคัญของท้องถิ่นมาจัดทำฐานข้อมูล |
P |
|
8. มีการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำแผน |
P |
|
9. มีการวิเคราะห์ศักยภาพของท้องถิ่น (SWOT)เพื่อประเมินสถานภาพ การพัฒนาท้องถิ่น |
P |
|
10. มีการกำหนดวิสัยทัศน์และภารกิจหลักการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้อง กับศักยภาพของท้องถิ่น |
P |
|
11. มีการกำหนดวิสัยทัศน์และภารกิจหลักการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์จังหวัด |
P |
|
12. มีการกำหนดจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน |
P |
|
13. มีการกำหนดเป้าหมายการพัฒนาท้องถิ่น |
P |
|
14. มีการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา |
P |
|
15. มีการกำหนดยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจังหวัด |
P |
|
16. มีการอนุมัติและประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา |
P |
|
17. มีการจัดทำบัญชีกลุ่มโครงการในแผนยุทธศาสตร์ |
P |
|
18. มีการกำหนดรูปแบบการติดตามประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ |
P |
|
![]() |
1. จำนวนงบประมาณไม่เพียงพอในการดำเนินงานด้านโครงสร้างพื้นฐาน เนื่องจากบางโครงการต้องใช้เงินงบประมาณจำนวนมากในการดำเนินโครงการ
2. ปัญหาที่เกิดจากภัยธรรมชาติที่ไม่สามารถควบคุมได้ ทำให้การดำเนินการบางโครงการเป็นไปด้วยความล่าช้า
3. ได้รับงบประมาณล่าช้า
4. โครงการที่บรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่นมีจำนวนมากเกินไป ไม่สามารถดำเนินการได้ทุกโครงการ
ข้อเสนอแนะ
1. นำโครงการที่เกินศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลไปประสานกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อขอกรับการสนับสนุนงบประมาณต่อไป
2. ควรดำเนินการซักซ้อมและทำความเข้าใจถึงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานที่ไม่สามารถควบคุมได้
3. ควรจัดทำแผนตามสภาพปัญหาของพื้นที่และตามความจำเป็น
4. ควรมีการสรุปติดตามแผนเป็นรายไตรมาส เพื่อติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงาน
5. ควรทีการติดตามประเมินผลตามแผนการดำเนินงานที่มีงบประมาณอยู่แล้ว
รายงานด้านงบประมาณรายรับ – รายจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2561
รอบไตรมาสแรก (1 ตุลาคม 2560 – 28 กุมภาพันธ์ 2561)
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปี 2561 ตั้งจ่ายไว้ 47,745,120 บาท
รายรับ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 รายรับทั้งสิ้น จำนวนเงิน 26,606,985.30 บาท แยกเป็น
- |
ภาษีโรงเรือนและที่ดิน |
263,544 |
บาท |
- |
ภาษีบำรุงท้องที่ |
51,738 |
บาท |
- |
ภาษีป้าย |
147,724 |
บาท |
- |
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1 ใน 9 |
1,552,279.83 |
บาท |
- - |
ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์หรือล้อเลื่อน ภาษีมูลค่าเพิ่มตาม พรบ. |
125,489.71 4,549,072.73 |
บาท บาท |
- |
ภาษีธุรกิจเฉพาะ |
29,768.53 |
บาท |
- |
ภาษีสุรา |
- |
บาท |
- |
ภาษีสรรพสามิต |
3,212,780.99 |
บาท |
- |
ค่าภาคหลวงแร่ |
13,007.98 |
บาท |
- |
ค่าภาคหลวงปิโตรเลียม |
23,041.04 |
บาท |
- |
เงินที่เก็บตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติ |
- |
บาท |
-
- |
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมประมวลกฎหมายที่ดิน ค่าธรรมเนียมน้ำบาดาล |
825,432
- |
บาท
บาท |
- |
ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตขายสุรา |
2,376.50 |
บาท |
- |
ค่าปรับผู้กระทำผิดกฎหมายจราจรทางบก |
- |
บาท |
- -
- |
ค่าปรับผิดสัญญา ค่าใบอนุญาตประกอบการค้าสำหรับกิจการที่อันตรายต่อสุขภาพ ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร |
- 31,120
110,626.99 |
บาท บาท
บาท |
- |
ค่าขายแบบแปลน |
6,000 |
บาท |
- - |
รายได้จากสาธารณูปโภคอื่น ๆ (ค่าน้ำประปา) รายได้เบ็ดเตล็ดอื่น ๆ |
329,296 1,000 |
บาท บาท |
- |
เงินอุดหนุนทั่วไป |
6,156,087 |
บาท |
- อุดหนุนระบุวัตถุประสงค์ จำนวน 8,822,115 บาท
- เบี้ยยังชีพผู้สุงอายุ 4,254,000 บาท
- เบี้ยพิการ 1,051,200 บาท
- เบี้ยเอดส์ 61,500 บาท
- ค่าตอบแทนครู 1,558,530 บาท
- อาหารเสริมนม (ประถม) 328,627 บาท
- อาหารกลางวัน (ประถม) 686,000 บาท
- อาหารเสริมนม (ศดว.) 172,458 บาท
- อาหารกลางวัน (ศดว.) 450,000 บาท
- สื่อการสอน ศดว. 259,800 บาท
- อุดหนุนเฉพาะกิจ จำนวน 354,485 บาท
รายจ่ายทั้งสิ้น จำนวนเงิน 14,825,837.02 บาท แยกเป็น
- |
งบกลาง |
1,548,078.60 |
บาท |
- |
เงินเดือนและค่าจ้างประจำ |
8,698,641 |
บาท |
- |
ค่าตอบแทน |
360,345 |
บาท |
- |
ค่าใช้สอย |
1,799,554 |
บาท |
- |
ค่าวัสดุ |
1,211,751.12 |
บาท |
- - |
ค่าสาธารณูปโภค รายจ่ายอื่น |
402,667.30 |
บาท บาท |
- |
เงินอุดหนุน |
427,000 |
บาท |
- |
ค่าครุภัณฑ์ |
77,800 |
บาท |
- |
ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง |
300,000 |
บาท |
- |
เงินอุดหนุนระบุวัตถุประสงค์ |
- |
บาท |
ส่วนที่ 4
การประเมินความพึงพอใจต่อผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สรุปผล แบบประเมินความพึงพอใจต่อผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาพรวม
โดยการสุ่มตัวอย่าง แจกแบบประเมิน จำนวน 135 ชุด
เพศ - ชาย จำนวน 62 ราย
- หญิง จำนวน 73 ราย
อายุ - ต่ำกว่า 20 ปี จำนวน 14 ราย - 20 – 30 ปี จำนวน 32 ราย - 31 – 40 ปี จำนวน 34 ราย
- 41 – 50 ปี จำนวน 27 ราย - 51 – 60 ปี จำนวน 17 ราย - มากกว่า 60 ปี จำนวน 11 ราย
การศึกษา - ประถมศึกษา จำนวน 52 ราย - มัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า จำนวน 47 ราย
- อนุปริญญา หรือเทียบเท่า จำนวน 10 ราย - ปริญญาตรี จำนวน 10 ราย
- สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 1 ราย - อื่น ๆ จำนวน 15 ราย
อาชีพ - รับราชการ จำนวน 9 ราย - เอกชน/รัฐวิสาหกิจ จำนวน 9 ราย
- ค้าขาย ธุรกิจส่วนตัว จำนวน 16 ราย - รับจ้าง จำนวน 31 ราย
- นักเรียน นักศึกษา จำนวน 15 ราย - เกษตรกร จำนวน 55 ราย
- อื่น ๆ จำนวน - ราย
ในภาพรวม
ประเด็น |
พอใจมาก (ราย) |
คิดเป็นร้อยละ |
พอใจ (ราย) |
คิดเป็นร้อยละ |
ไม่พอใจ (ราย) |
คิดเป็นร้อยละ |
1) การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในโครงการ/กิจกรรม |
54 |
40.00 |
68 |
50.37 |
13 |
9.63 |
2) การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ข้อมูลของโครงการ/กิจกรรม |
48 |
35.56 |
70 |
51.85 |
17 |
12.59 |
3) การเปิดโอกาสให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นในโครงการ/กิจกรรม |
48 |
35.56 |
63 |
46.66 |
24 |
17.78 |
4) การรายงานผลการดำเนินงานของโครงการ/กิจกรรม ต่อสาธารณะ |
55 |
40.74 ประกาศองค์การบริหารส่วนตำบลบัวขาว เรื่อง ประกาศใช้แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ 2561 - 2565) |